ชนิดพืช มันสำปะหลัง ประเภทแปลง (ทั่วไป/ต้นแบบ) ทั่วไป
ตำบล บักดอง อำเภอ ขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
1. ข้อมูลพื้นฐาน
1.1 ชื่อกลุ่ม แปลงใหญ่มันสำปะหลัง หมู่ 8 ตำบลบักดอง อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 2563
(กลุ่มเกษตรกร/ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/ กลุ่มสหกรณ์)
1.2 สมาชิก จำนวน 31 ราย
1.3 เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer จำนวน – ราย
1.4 จำนวนแปลงย่อย 31 แปลง
1.5 พื้นที่รวมจำนวน 306.5 ไร่
1.6 ความเหมาะสมของพื้นที่ ดังนี้
– S1 จำนวน – ไร่ – S2 จำนวน 5,300 ไร่
– S3 จำนวน 472 ไร่ – N จำนวน 2,228 ไร่
1.7 แหล่งน้ำเพื่อทำการเกษตรในพื้นที่ มี หรือ ไม่
– น้ำฝน
1.8 ชนิดพืชที่ผลิต (ระบุ) มันสำปะหลัง
1.9 มาตรฐานที่ใช้ในการผลิต
– ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง สมาชิก 31 ราย จำนวน 306.5 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 5,000 กก./ไร่
– GAP สมาชิก – ราย จำนวน – ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย – กก./ไร่
-Organic สมาชิก – ราย จำนวน – ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย – กก./ไร่
1.10 ผลผลิตรวม 1532 ตัน
1.11 ข้อมูลผู้บริหารจัดการกลุ่ม
1. ผู้จัดการแปลง (ชื่อ-สกุล) นายพนม คงสีไพร ตำแหน่ง เกษตรอำเภอขุนหาญ
หมายเลขโทรศัพท์ 083-3526
2. ผู้ช่วยผู้จัดการแปลง (ชื่อ-สกุล) นายทำนอง แก้วกันหา ตำแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ หมายเลขโทรศัพท์ 087-4266822
3. ประธานกลุ่ม (ชื่อ-สกุล) นายสุพัด ไชยทอง หมายเลขโทรศัพท์ 085-4121968
1.12 ที่ตั้งที่ทำการกลุ่มฯ เลขที่ 238 หมู่ที่ 8 บ้าน สำโรงเกียรติ
ตำบล บักดอง อำเภอ ขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
1.13 พิกัดแปลง (จำนวน 5 จุดหลัก) P 48
– ทิศเหนือ x = 442994 y = 1608075 – ทิศใต้ x = 441865 y = 1606092
– ทิศตะวันออก x = 444009 y = 1605980 – ทศตะวันตก x = 441292 y = 1607670.
– จุดกึ่งกลาง x = 443311 y = 1607668
2. เป้าหมายการพัฒนา
2.1 ลดต้นทุนการผลิต (ต้องลดลงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10)
– ต้นทุนการผลิต (เดิม) 3,200 บาท/ไร่
– ต้นทุนการผลิต (เป้าหมาย) 2,850 บาท/ไร่
– คิดเป็นร้อยละของต้นทุนที่ลดลง 12.3
หมายเหตุ : 1. ให้อธิบายรายละเอียดในแต่ละกิจกรรม เช่น
1.1 อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ (เดิม) กี่กิโลกรัม/ไร่ (เป้าหมาย)กี่กิโลกรัม/ไร่
1.2 การใส่ปุ๋ย (ใส่กี่ครั้ง/ ใช้สูตรใด/ อัตราเท่าไหร่) ทั้งในส่วนของปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
1.3 การใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช/ศัตรูพืช (ใช้กี่ครั้ง/ อัตราเท่าไหร่)
2.2 เป้าหมายการเพิ่มผลผลิต (ต้องเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10)
– ผลผลิต (เดิม) 5000 กิโลกรัม/ไร่
– ผลผลิต (เป้าหมาย) 5500 กิโลกรัม/ไร่
– คิดเป็นร้อยละของผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 10
2.3 การเพิ่มมูลค่าผลผลิต เช่น
– การผลิตมันสำปะหลังตามมาตรฐาน จำนวน 31 ราย พื้นที่จำนวน 306 ไร่
(ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม 1.80 บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.)
– การผลิตสินค้าตามมาตรฐาน GAP จำนวน ราย พื้นที่จำนวน – ไร่
(ราคาสินค้า GAP บาท/กก. ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม – บาท/กก. เพิ่มขึ้น บาท/กก.)
– การผลิตสินค้าตามมาตรฐาน Organic จำนวน – ราย พื้นที่จำนวน – ไร่
(ราคาสินค้า Organic – บาท/กก. ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม – บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.)
2.4 การบริหารจัดการกลุ่ม (มีแผนและแนวทางในการบริหารจัดการกลุ่ม) ดังนี้
1. มีแผนในการบริหารจัดการกลุ่มด้านใด อย่างไรบ้าง (อธิบาย)
1.1 แผนการบริหารจัดการกลุ่ม
– จัดทำโครงสร้างกลุ่ม และคณะกรรมการกลุ่มย่อยรับผิดชอบงานด้านต่างของกลุ่ม กรรมการกลุ่มและสมาชิกทุกคนรู้บทบาทหน้าที่ของตน
– จัดประชุมวางแผน รายงานผลการดำเนินกิจกรรมกลุ่มสม่ำเสมอ
– สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของกลุ่ม
1.2 การบริหารจัดการเครื่องจักรกล
– กลุ่มยังไม่มีการจัดซื้อเครื่องจักรกล
1.3 การบริหารจัดการผลผลิตกลุ่ม
– ผลผลิตของสมาชิกสามารถนำมารวมกันจำหน่าย หรือหากสมาชิกมีช่องที่สามารถจำหน่ายได้สูงกว่าก็ให้จำหน่ายแยกได้
– การจัดการผลผลิต แบ่งเป็น 4 ส่วน ดังนี้
1. จำหน่ายมันสด
2. จำหน่ายเป็นท่อนพันธุ์
1.4 การจัดการด้านการตลาด
– จัดหาแหล่งรับซื้อผลผลิตที่มีคุณธรรม ให้แก่สมาชิก
– เพิ่มช่องทางการจำหน่าย
– ทำบันทึกข้อตกลงซื้อขายมันสำปะหลังกับลานมัน
2. มีแผนในการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิตอย่างไร (อธิบาย)
แผนการผลิต
- ผลิตปุ๋ยไว้ใช้เองภายในกลุ่มเพื่อลดต้นทุน
แผนพัฒนาคุณภาพผลผลิต
- ใช้ท่อนพันธุ์จากแหล่งเชื่อถือได้/ปลอดโรค
3. มีแผนการตลาดและแผนการพัฒนาด้านการตลาดอย่างไร (อธิบาย)
1. จัดหาแหล่งรับซื้อผลผลิตที่มีคุณธรรม ให้แก่สมาชิก
2. เพิ่มช่องทางการจำหน่าย
3. ทำบันทึกข้อตกลงซื้อขายมันสำปะหลังกับลานมัน
2.5 การจัดการด้านการตลาด ดังนี้
1. สินค้าของกลุ่มประกอบด้วยอะไรบ้าง ปริมาณเท่าไร เช่น
1.1 สินค้า (มันสำปะหลัง) ทั่วไป ผลผลิตรวม 1532 ตัน ราคา 1,800 บาท/ตัน
1.2 สินค้า ท่อนพันธ์ ผลผลิตรวม – ตัน ราคา – บาท/ตัน
1.3 สินค้า GAP ผลผลิตรวม – ตัน ราคา – บาท/ตัน
1.4 สินค้า Organic ผลผลิตรวม – ตัน ราคา – บาท/ตัน
1.5 สินค้าแปรรูป ได้แก่ – ปริมาณ – ตัน ราคา – บาท/ตัน
2. ตลาดในการจำหน่ายสินค้าของกลุ่ม
2.1 ตลาดภายในประเทศ ที่ใดบ้าง คิดเป็นปริมาณเท่าไร (ตัน)
– ลานมันที่ทำ MOU ร่วมกัน จำนวน 1,532 ตัน
– ลานมัน และพ่อค้าคนกลางทั่วไป จำนวน – ตัน
– การออกบู๊ตจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน – ตัน
– การจำหน่ายผ่านช่องทาง e-commerce เช่น Facebook/ Line/ Instagramจำนวน – ตัน
2.2 ตลาดต่างประเทศ ที่ใดบ้าง คิดเป็นปริมาณเท่าไร (ตัน)
– ไม่มี
3. กิจกรรมเพื่อบรรลุเป้าหมาย (ให้อธิบายว่ามีวิธีการและขั้นตอนในการดำเนินการอย่างไร)
3.1 การลดต้นทุนการผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10) เช่น
1. การใช้เครื่องจักรกลการเกษตร (รถเกี่ยวข้าว) ทดแทนแรงงานคน
2. ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
3. ลดการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช/ ศัตรูพืช
3.2 การเพิ่มผลผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10) เช่น
1. หว่านพืชตระกูลถั่วแล้วไถกลบ
2. ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
3. การระเบิดชั้นดินดาน
3.3 การพัฒนาคุณภาพผลผลิต เช่น
1. อบรมเกษตรกรตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร
2. การวางแผนการผลิตของสมาชิกตามมาตรฐานการปลูกมันสำปะหลัง
3.4 การบริหารจัดการ เช่น
1. แผนการบริหารจัดการกลุ่ม
2. การบริหารจัดการเครื่องจักรกล
3. การบริหารจัดการผลผลิตกลุ่ม
4. การจัดการด้านการตลาด
3.5 การตลาด เช่น
1. ตลาดภายในประเทศ
– การทำทำ MOU ร่วมกันผู้ประกอบการ ลานมัน โรงงานอาหารสัตว์ โรงแป้ง
– ลานมัน โรงงานอาหารสัตว์ โรงแป้ง และพ่อค้าคนกลางทั่วไป
– การออกบู๊ตจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า
– การจำหน่ายผ่านช่องทาง e-commerce เช่น Facebook/ Line/
2. การจำหน่ายภายในประเทศ/ต่างประเทศ
4. การเปลี่ยนแปลง เช่น
4.1 ผลผลิตต่อไร่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับการทำนาหว่าน
– ไม่ระเบิดชั้นดินดาน ผลผลิต 5000 กก./ไร่
– ระเบิดชั้นดินดาน 5500 กก./ไร่ เพิ่มขึ้น 500 กก./ไร่ คิดเป็น 10 %
4.3 ผลผลิตมีคุณภาพและมาตรฐาน เช่น
– มาตรฐาน GAP
– มาตรฐาน Organic
4.4 มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพิ่มมากขึ้น เช่น
– ตลาดภายในประเทศ ได้แก่
– ตลาดต่างประเทศ ได้แก่
4.5 มีการบริหารจัดการด้านต่างๆ เช่น
– แผนการบริหารจัดการกลุ่ม
– การบริหารจัดการเครื่องจักรกล
– การบริหารจัดการผลผลิตกลุ่ม
– การจัดการด้านการตลาด
5. มูลค่าเพิ่มจากการพัฒนา เช่น
5.1 ราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นจากเดิมราคา – บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.
คิดเป็น – %
5.2 รายได้ที่เพิ่มขึ้น/ไร่ จากเดิม – บาท/ไร่ เป็น – บาท/ไร่
เพิ่มขึ้น – บาท/ไร่ คิดเป็น – %
6 เป้าหมายในการพัฒนา 5 ด้าน
6.1 การลดต้นทุน ร้อยละ 10
1 ใช้เครื่องจักรกลทดแทนแรงงานคน
2 การใช้ท่อนพันธุ์ที่ปลอดโรค
3 ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
4 ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
5 การใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก
6 การผลิตสารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
7 รวมกลุ่มการชื้อปัจจัยการผลิต
6.2 การเพิ่มผลผลิต ร้อยละ 10
1. ใช้พันธุ์ดี
2. ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
3. ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ
6.3 การพัฒนาคุณภาพผลผลิต
1. อบรมเกษตรกรตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร/ศึกษาดูงาน
2. 3.2 ขอรับการตรวจมาตรฐานการผลิต
6.4 การบริหารจัดการ
1 การบริหารจัดการเครืองจักรกล
2 การใช้รถไถ
3 การรวบรวมผลผลิตกลุ่ม
4 ธนาคารปุ๋ย
5 การบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด
6 ศูนย์ข้าวชุมชน
6.5 การตลาดเช่น
1 มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ (MOU) ซื้อขายเมล็ดพันธุ์ข้าวร่วมกับลานมัน โรงงานอาหารสัตว์ โรงแป้ง โรงผลิตเอทานอล
2 จำหน่ายผลผลิตตามข้อที่ 1