วิสาหกิจชุมผู้ผลิตทุเรียนคุณภาพแปลงใหญ่หนองเก่า ซำตาโตง

ชนิดพืช ทุเรียน  ประเภทแปลง (ทั่วไป/ต้นแบบ)    ทั่วไป             

ตำบล   พราน   อำเภอ  ขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

1. ข้อมูลพื้นฐาน

          1.1 ชื่อกลุ่ม      วิสาหกิจชุมผู้ผลิตทุเรียนคุณภาพแปลงใหญ่หนองเก่า  ซำตาโตง       

          1.2 สมาชิก จำนวน 118 ราย

          1.3 เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer จำนวน  30 ราย

          1.4 จำนวนแปลงย่อย 118 แปลง

          1.5 พื้นที่รวมจำนวน 780 ไร่

          1.6ความเหมาะสมของพื้นที่ ดังนี้

                   – S1 จำนวน               ไร่       – S2จำนวน  780  ไร่

                   – S3จำนวน                ไร่      – N  จำนวน               ไร่

          1.7 แหล่งน้ำเพื่อทำการเกษตรในพื้นที่ มี หรือ ไม่

                   – ไม่มี ใช้น้ำบาดาล/ห้วยขมิ้น/บ่ดิน

          1.8 ชนิดพืชที่ผลิต (ระบุ)  ทุเรียน 

          1.9 มาตรฐานที่ใช้ในการผลิต เช่น GAP และ Organic เป็นต้น

          1.10 ผลผลิตรวม 600 ตัน

          1.11 ผลผลิตเฉลี่ย  1.35  ตัน/ ไร่

          1.12 ข้อมูลผู้บริหารจัดการกลุ่ม

                   1. ผู้จัดการแปลง เกษตรอำเภอขุนหาญ

                   2. ผู้ช่วยผู้จัดการแปลง เกษตรตำบลพราน

                   3.ประธานกลุ่ม(ชื่อ-สกุล)  นายคำตา   บุญวัน  หมายเลขโทรศัพท์  0896608723

          1.13 ที่ตั้งที่ทำการกลุ่มฯ เลขที่ 34/1 หมู่ที่ 8 บ้าน  หนองเก่า        

ตำบล   พราน  อำเภอ ขุนหาญ  จังหวัดศรีสะเกษ

          1.14 พิกัดแปลง (จำนวน 5 จุดหลัก)

                   – ทิศเหนือX=448689,Y=1616246        – ทิศใต้ X=449163,Y=1606282

                   – ทิศตะวันออก X=450973,Y=1611683  – ทศตะวันตก X=444309,Y=1609682   

                    – จุดกึ่งกลาง X=445787,Y=16111338

2. เป้าหมายการพัฒนา

          2.1 ลดต้นทุนการผลิต (ต้องลดลงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10)

                   – ต้นทุนการผลิต (เดิม)  18,500  บาท/ไร่

                   – ต้นทุนการผลิต (เป้าหมาย) 16,500 บาท/ไร่

                   – คิดเป็นร้อยละของต้นทุนที่ลดลง  12

ตัวอย่างตารางจำแนกต้นทุนการผลิต/ไร่ (โดยละเอียด) ดังนี้

หมายเหตุ : 1. ให้อธิบายรายละเอียดในแต่ละกิจกรรม

          2.2 เป้าหมายการเพิ่มผลผลิต (ต้องเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10)

                   – ผลผลิต (เดิม)   1,200  กิโลกรัม/ไร่

                   – ผลผลิต (เป้าหมาย) 1,350 กิโลกรัม/ไร่

                   – คิดเป็นร้อยละของผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 12.5 

2.3 การเพิ่มมูลค่าผลผลิตเช่น

                   – การผลิตสินค้าตามมาตรฐาน GAP จำนวน 56  ราย พื้นที่จำนวน    600  ไร่

(ราคาสินค้า GAP 120  บาท/ก.ก. ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม 100 บาท/ก.ก. เพิ่มขึ้น 20 บาท/ก.ก.)

                   – การผลิตสินค้าตามมาตรฐานOrganicจำนวน       ราย พื้นที่จำนวน          ไร่      

(ราคาสินค้า Organic     บาท/ก.ก. ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม         บาท/ก.ก. เพิ่มขึ้น          บาท/ก.ก.)

2.4 การบริหารจัดการกลุ่ม(มีแผนและแนวทางในการบริหารจัดการกลุ่ม) ดังนี้

                   1. มีแผนในการบริหารจัดการกลุ่มอย่างไร มีการแต่งตั้งคณะทำงานและกรรมการขึ้นมาทำหน้าที่ในการบริหารจัดการกลุ่ม

                   2. มีแผนในการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิตอย่างไร รวมกันผลิตภายใต้คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและจัดจำหน่ายผลผลิตร่วมกัน และมีคุณภาพเหมือนๆกัน

                   3. มีแผนการตลาดและแผนการพัฒนาด้านการตลาดโดยมีการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกมาคัดเกรดจำหน่ายเป็นทุเรียนคุณภาพและตั้งราคาขายร่วมกันและราคาเดียวกันภายใต้มาตรฐานเหมือนๆกัน

          2.5 การจัดการด้านการตลาด ดังนี้

                   1. สินค้าของกลุ่มประกอบด้วยอะไรบ้าง ปริมาณเท่าไร เช่น

                             1.1สินค้า (ทุเรียน) ทั่วไป ผลผลิตรวม 650  ตัน ราคา 100,000 บาท/ตัน

                             1.2 สินค้า GAP ผลผลิตรวม  150  ตัน ราคา 120,000 บาท/ตัน

                             1.3 สินค้า Organic ผลผลิตรวม             ตัน ราคา         บาท/ตัน

                   2. ตลาดในการจำหน่ายสินค้าของกลุ่ม

                             2.1 ตลาดภายในประเทศ คิดเป็นปริมาณเท่าไร จำนวน 400 ตัน

                             2.2 การออกบู๊ตจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน  250  ตัน

                             2.3 ตลาดต่างประเทศ โดย บริษัท CP  จำนวน 150 ตัน

3. กิจกรรมเพื่อบรรลุเป้าหมาย(ให้อธิบายว่ามีวิธีการและขั้นตอนในการดำเนินการอย่างไร)

          3.1 การลดต้นทุนการผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10)  เช่น

                   1.  ใช้ปุ๋ยเคมีตามการวิเคราะห์ดิน

                   2.  การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก,ปุ๋ยคอก

                   3.  การใช้สารชีวภันฑ์ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช

4. รวมกลุ่มการชื้อปัจจัยการผลิต

          3.2 การเพิ่มผลผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10) เช่น

1.  ใช้พันธุ์ดี

                   2.  ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

                   3.  ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ

          3.3 การพัฒนาคุณภาพผลผลิต เช่น

                   1. อบรมเกษตรกรตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร/ศึกษาดูงาน

2. การตรวจรับรองมาตรฐาน GAP  และ Organic

          3.4 การบริหารจัดการเช่น

1. วางแผนบริการจัดการดำเนินการตลาด                  4.การตัดทุเรียนแก่จัด

                   2. วางแผนบริการจัดการผลิตทุเรียนคุณภาพ               5.กองทุนกลุ่ม

                   3. วางแผนบริการจัดการรวมกลุ่มจัดชื้อวัตถุดิบร่วมกัน

          3.5 การตลาดเช่น

                   1. สัญญาตกลงชื้อขายล่วงหน้ากับบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์

                   2. การจัดทำตลาดออนไลน์โดยสหกรณ์การเกษตร

                   3. การจำหน่ายภายในประเทศ/ต่างประเทศ

                   4. ตลาดท้องถิ่น

4. การเปลี่ยนแปลง เช่น

          4.1 ต้นทุนการผลิตต่อไร่ลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

          4.2ผลผลิตต่อไร่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

          4.3 ผลผลิตมีคูณภาพและมาตรฐาน เช่น

                   – มาตรฐาน GAP ทุกราย

          4.4 มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพิ่มมากขึ้น

          4.5 มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น

5. มูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาเช่น

          5.1 ราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นจากเดิมราคา     105    บาท/ก.ก. เพิ่มขึ้น  120   บาท/ก.ก.

คิดเป็น  14.3  %

          5.2 รายได้ที่เพิ่มขึ้น/ไร่ จากเดิม 120,000  บาท/ไร่ เป็น 135,000 บาท/ไร่

เพิ่มขึ้น  15,000 บาท/ไร่ คิดเป็น  12.5  %

6 เป้าหมายในการพัฒนา 5 ด้าน

6.1 การลดต้นทุน ร้อยละ 10

1 ใช้เครื่องจักรกลทดแทนแรงงานคน

2 การผลิตต้นพันธ์ใช้เอง

3 ลดการใช้ปุ๋ยเคมี

4 ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

5 การใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก

6 การผลิตสารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

7 รวมกลุ่มการชื้อปัจจัยการผลิต

          6.2 การเพิ่มผลผลิต ร้อยละ 10

1.  ใช้พันธุ์ดี

                   2.  ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

                   3.  ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ

6.3 การพัฒนาคุณภาพผลผลิต

                   1. อบรมเกษตรกรตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร/ศึกษาดูงาน

2. การตรวจรับรองมาตรฐาน GAP , Organic , GI

          6.4 การบริหารจัดการ

1. วางแผนบริการจัดการดำเนินการตลาด                  4.การตัดทุเรียนแก่จัด

                   2. วางแผนบริการจัดการผลิตทุเรียนคุณภาพ               5.กองทุนกลุ่ม

                   3. วางแผนบริการจัดการรวมกลุ่มจัดชื้อวัตถุดิบร่วมกัน

          6.5 การตลาดเช่น

                   1. สัญญาตกลงชื้อขายล่วงหน้ากับบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์

                   2. การจัดทำตลาดออนไลน์โดยสหกรณ์การเกษตร

                   3. การจำหน่ายภายในประเทศ/ต่างประเทศ

                   4. ตลาดท้องถิ่น

                   5. การจำหน่าย Online กับ Lazada, Soppee