แปลงใหญ่ข้าวบ้านโนนสวรรค์

ชนิดพืช  ข้าว    ประเภทแปลง(ทั่วไป/ต้นแบบ)   ทั่วไป   . 

ตำบล พราน   อำเภอ  ขุนหาญ   จังหวัด  ศรีสะเกษ   .

1. ข้อมูลพื้นฐาน

    1.1 ชื่อกลุ่ม  แปลงใหญ่ข้าวบ้านโนนสวรรค์ (กลุ่มเกษตรกร/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มสหกรณ์)

    1.2 สมาชิก  จำนวน 55 ราย

    1.3 จำนวนแปลงย่อย 63   แปลง

    1.4 สมาชิก  จำนวน 55 ราย

    1.5 พื้นที่รวม  จำนวน 673 ไร่

    1.6 ความเหมาะสมของพื้นที่ ดังนี้

                 – S1  จำนวน   –         ไร่        – S2  จำนวน   572   ไร่                          

                 – S3  จำนวน   –         ไร่        – N  จำนวน    –           ไร่                       

                 – ป่าไม้  จำนวน   –      ไร่                                                                      

    1.7 แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่ มี หรือ ไม่มี                                                                            

                 – ห้วยทา                                                                                                                

    1.8  ชนิดพืชที่ผลิต (ระบุ)   ข้าวหอมมะลิ  .                                                                     

    1.9 มาตรฐานที่ใช้ในการผลิต                                                                                          

                 – เมล็ดพันธ์ข้าว สมาชิก   –    ราย  จำนวน     –    ไร่   ผลผลิตเฉลี่ย    –     กก./ไร่           

                 – GAP สมาชิก  22    ราย   จำนวน    487   ไร่   ผลผลิตเฉลี่ย   450    กก./ไร่               

                 – Organic สมาชิก   30    ราย จำนวน   150   ไร่   ผลผลิตเฉลี่ย    430    กก./ไร่          

    1.10 ผลผลิตรวม 280 ตัน                                                                                                

    1.11 ข้อมูลผู้บริหารจัดการกลุ่ม                                                                                      

                1. ผู้จัดการแปลง เกษตรอำเภอขุนหาญ         

                2. ผู้ช่วยผู้จัดการแปลง   เกษตรตำบลพราน

                3. ประธานกลุ่ม   นางสมศักดิ์  อ่อนตา  หมายเลขโทรศัพท์  088-4806468     .           

    1.12 ที่ตั้งที่ทำการกลุ่มฯ  4   ม.12 บ้านโนนสวรรค์  ตำบลพราน   อำเภอ ขุนหาญ จังหวัด ศรีสะเกษ   .

    1.13 พิกัดแปลง (จำนวน 5 จุดหลัก)                                                                               

                 – ทิศเหนือ  X = 445439, Y = 1616740             – ทิศใต้ X = 445267 , Y = 1615428

                 – ทิศตะวันออก X = 446015 , Y = 1616084    – ทิศตะวันตก X =  444096 , Y = 1616046

                 – จุดกึ่งกลาง  X = 445316 , Y = 1615836                                                       

2. เป้าหมายการพัฒนา                                                                                                       

                2.1  ลดต้นทุนการผลิต (ต้องลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20)                                              

                                 – ต้นทุนการผลิต (เดิม) 3,400 บาท/ไร่                                               

                                 – ต้นทุนการผลิต (เป้าหมาย) 2,760  บาท/ไร่                                    

                                 – คิดเป็นร้อยละของต้นทุนที่ลดลง      

   

       .                                  

หมาเหตุ :                1. ให้อธิบายรายละเอียดในแต่ละกิจกรรม เช่น                                                 

                1.1 อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ (เดิม) กี่กิโลกรัม/ไร่  (เป้าหมาย) กี่กิโลกรัม/ไร่                      

                1.2 การใส่ปุ๋ย(ใส่กี่ครั้ง/ใช้สูตรใด/อัตราเท่าไหร่) ทั้งในส่วนของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี

                1.3 การใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช/ศัตรูพืช(ใช้กี่ครั้ง/อัตราเท่าไหร่)                 

2.2 เป้าหมายการเพิ่มผลผลิต (ต้องเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20)

    – ผลผลิต (เดิม) 450 กิโลกรัม/ไร่

    – ผลผลิต (เดิม)  540   กิโลกรัม/ไร่

    – คิดเป็นร้อยละของผลผลิตที่เพิ่มขึ้น  20  .

2.3 การเพิ่มมูลค่าผลผลิต เช่น

    – การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐาน จำนวน – ราย  พื้นที่จำนวน – ไร่(ราคาสินค้า

      เมล็ดพันธุ์ข้าว 21 บาท/กก.   ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม –   บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.)

    – การผลิตสินค้าตามมาตรฐานGAP จำนวน – ราย  พื้นที่จำนวน – ไร่(ราคาสินค้าGAP – บาท/กก.  

ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม –   บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.)

     – การผลิตสินค้าตามมาตรฐานOrganic จำนวน – ราย  พื้นที่จำนวน – ไร่(ราคาสินค้าOrganic – บาท/กก.  

ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม –   บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.)

2.4 การบริหารจัดการกลุ่ม (มีแผนและแนวทางในการบริหารจัดการกลุ่ม) ดังนี้

     1 มีแผนในการบริหารจัดการกลุ่มด้านใด  อย่างไรบ้าง (อธิบาย)

         1.1 จัดตั้งผู้จัดการกลุ่มย่อยควบคุมสมาชิกด้วยกันเอง  กลุ่มละไม่เกิน 30 ราย

         1.2 จัดตั้งคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ  ดังนี้

              – คณะกรรมการด้านเมล็ดพันธุ์

              – คณะกรรมการด้านเครื่องจักรกลการเกษตร

              – คณะกรรมการด้านอารักขาพืช

              – คณะกรรมการด้านปุ๋ย

2 มีแผนในการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิตอย่างไร (อธิบาย)

             – ผลิตให้ได้มาตรฐานอินทรีย์ไม่น้อยกว่าร้อยละ  50  ของจำนวน  ผลผลิตทั้งหมด

3 มีแผนการตลาดและแผนการพัฒนาด้านการตลาดอย่างไร (อธิบาย)

             – ขายข้าวสาร โดยการบรรจุภัณฑ์สูญากาศ เป็น สินค้าข้าวอินทรีย์

2.5 การจัดการด้านการตลาด ดังนี้

     1 สินค้าของกลุ่มประกอบด้วยอะไรบ้าง ปริมาณเท่าไร เช่น

        1.1 สินค้า(ข้าว) ทั่วไป ผลผลิตรวม 185  ตัน  ราคา 15,000 บาท/ตัน

        1.2 สินค้าแปรรูป ได้แก่ ข้าวสาร    ปริมาณ 80 ตัน ราคา50,000 บาท/ตัน

2 ตลาดในการจำหน่ายสินค้าของกลุ่ม

2.1 ตลาดภายในประเทศที่ใดบ้าง คิดเป็นปริมาณเท่าไร (ตัน)

      – โรงสีข้าวที่ทำ MOU ร่วมกัน จำนวน 80  ตัน

      – การออกบู๊ตจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน 10 ตัน

3. กิจกรรมเพื่อบรรลุเป้าหมาย(ให้อธิบายว่ามีวิธีการและขั้นตอนในการดำเนินการอย่างไร)                     

                3.1 การลดต้นทุนการผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20)  เช่น                                     

                                 – การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก,ปุ๋ยคอก                                          

                                 – การใช้สารชีวภันฑ์ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช                                              

                                 – รวมกลุ่มการชื้อปัจจัยการผลิต                                                        

                3.2 การเพิ่มผลผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20) เช่น                                                                

                                 – ใช้พันธุ์ดี                                                                                              

                                 – ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ                                                                          

                3.3 การพัฒนาคุณภาพผลผลิต เช่น                                                                   

                                 – การตรวจรับรองมาตรฐาน GAP  และ Organic                                            

                3.4 การบริหารจัดการเช่น                                                                    

                                 – วางแผนบริการจัดการดำเนินการตลาด                                         

                                 – วางแผนบริการจัดการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพ                                         

                                 – การวางแผนบริหารเครื่องจักรกล                                                    

                3.5 การตลาดเช่น                                                                                  

                                 – การดำเนินการหากลุ่มลูกค้าสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ              

                                 – การออกบู๊ทจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า                                         

4.การเปลี่ยนแปลง เช่น                                                                                         

                4.1 ต้นทุนการผลิตต่อไร่ลดลงเมื่อเทียบกับการทำนาหว่าน                                            

                                 – นาหว่านต้นทุน  3,400 บาท/ไร่                                                         

                                 – นาหยอดต้นทุน  2,760 บาท/ไร่ ลดลง 640 บาท/ไร่ คิดเป็น  23.20 %        

                                 – นาดำต้นทุน 3,200 บาท/ไร่ลดลง 300 บาท/ไร่ คิดเป็น  10.0   %

                4.2ผลผลิตต่อไร่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับการทำนาหว่าน                                               

                                 – นาหว่านผลผลิต 450 ก.ก./ไร่                                                           

                                 – นาหยอด 550 ก.ก./ไร่ เพิ่มขึ้น 100 ก.ก./ไร่ คิดเป็น  18.18  %      

                                 – นาดำ 580 ก.ก./ไร่ เพิ่มขึ้น 130 ก.ก./ไร่ คิดเป็น  23.63  %             

                4.3 ผลผลิตมีคูณภาพและมาตรฐาน เช่น                                                           

                                 – มาตรฐาน GAP                                                                  

                                 – มาตรฐาน Organic                                                                           

                4.4 มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพิ่มมากขึ้น เช่น                                                             

                                 – ตลาดภายในประเทศ                                                                        

                                 – ตลาดต่างประเทศ                                                                             

                4.5 มีการบริหารจัดการด้านต่างๆ เช่า                                                                

                                 – การบริหารจัดการกลุ่ม                                                      

                                 – การบริหารจัดการเครื่องกล                                                              

                                 – การบริหารจัดการผลผลิต                                                                

5. มูลค่าเพิ่มจากการพัฒนา  เช่น

5.1 ราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นจากเดิมราคา 10 บาท/ก.ก.

      เพิ่มขึ้น 15   บาท/ก.ก. คิดเป็น 50 %

5.2 รายได้ที่เพิ่มขึ้น/ไร่ จากเดิม 4,300 บาท/ไร่ เป็น 8,250บาท/ไร่

       เพิ่มขึ้น 3,950 บาท/ไร่ คิดเป็น 91 %