ชนิดพืช ข้าว ประเภทแปลง (ทั่วไป/ต้นแบบ) ทั่วไป
ตำบล กระหวัน อำเภอ ขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
1. ข้อมูลพื้นฐาน
1.1 ชื่อกลุ่ม แปลงใหญ่ข้าวหมู่ 12 บ้านจะเนียวตำบลกระหวัน
1.2 สมาชิก จำนวน 52 ราย
1.3 เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer จำนวน 11 ราย
1.4 จำนวนแปลงย่อย 87 แปลง
1.5 พื้นที่รวมจำนวน 539 ไร่
1.6 ความเหมาะสมของพื้นที่ ดังนี้
– S1 จำนวน 0 ไร่ – S2 จำนวน 178 ไร่
– S3 จำนวน 361 ไร่ – N จำนวน 0 ไร่
1.7 แหล่งน้ำเพื่อทำการเกษตรในพื้นที่ มี หรือ ไม่
– ถ้ามี ให้ระบุชื่อแหล่งน้ำ เช่น ห้วยสำราญ ห้วยตามาย ลำน้ำเสียว ลำน้ำมูล เป็นต้น
1.8 ชนิดพืชที่ผลิต (ระบุ) ข้าว
1.9 มาตรฐานที่ใช้ในการผลิต
– เมล็ดพันธุ์ข้าว สมาชิก 52 ราย จำนวน 539 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 400 กก./ไร่
– GAP สมาชิก 0 ราย จำนวน 0 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 0 กก./ไร่
-Organic สมาชิก 0 ราย จำนวน 0 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 0 กก./ไร่
1.10 ผลผลิตรวม 2,100 ตัน
1.11 ข้อมูลผู้บริหารจัดการกลุ่ม
1. ผู้จัดการแปลง เกษตรอำเภอขุนหาญ
หมายเลขโทรศัพท์
2. ผู้ช่วยผู้จัดการแปลง เกษตรตำบลกระหวัน
หมายเลขโทรศัพท์
3. ประธานกลุ่ม (ชื่อ-สกุล) นายนุชิต คำแดง หมายเลขโทรศัพท์
1.12 ที่ตั้งที่ทำการกลุ่มฯ เลขที่ 195 หมู่ที่ 12 บ้าน จะเนียวพัฒนา
ตำบล กระหวัน อำเภอ ขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
1.13 พิกัดแปลง (จำนวน 5 จุดหลัก)
– ทิศเหนือ 48P 436272 1619859 – ทิศใต้ 48P 436347 1617059
– ทิศตะวันออก 48P 438045 1619009 – ทิศตะวันตก 48P 435301 1618504
– จุดกึ่งกลาง 48P 436406 1618169
2. เป้าหมายการพัฒนา
2.1 ลดต้นทุนการผลิต (ต้องลดลงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20)
– ต้นทุนการผลิต (เดิม) 2925 บาท/ไร่
– ต้นทุนการผลิต (เป้าหมาย) 2340 บาท/ไร่
– คิดเป็นร้อยละของต้นทุนที่ลดลง 20
ตารางจำแนกต้นทุนการผลิต/ไร่ (โดยละเอียด) ดังนี้
หมายเหตุ : 1. ให้อธิบายรายละเอียดในแต่ละกิจกรรม เช่น
1.1 อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ (เดิม) 35 กี่กิโลกรัม/ไร่ (เป้าหมาย) 15 กิโลกรัม/ไร่
1.2 การใส่ปุ๋ย (ใส่กี่ครั้ง/ ใช้สูตรใด/ อัตราเท่าไหร่) ทั้งในส่วนของปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
1.3 การใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช/ศัตรูพืช ไม่ใช้ (ใช้กี่ครั้ง/ อัตราเท่าไหร่)
2.2 เป้าหมายการเพิ่มผลผลิต (ต้องเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20)
– ผลผลิต (เดิม) 400 กิโลกรัม/ไร่
– ผลผลิต (เป้าหมาย) 480 กิโลกรัม/ไร่
– คิดเป็นร้อยละของผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 20
2.3 การเพิ่มมูลค่าผลผลิต เช่น
– การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐาน จำนวน – ราย พื้นที่จำนวน – ไร่
(ราคาสินค้าเมล็ดพันธุ์ข้าว – บาท/กก. ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม – บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.)
– การผลิตสินค้าตามมาตรฐาน GAP จำนวน – ราย พื้นที่จำนวน – ไร่
(ราคาสินค้า GAP – บาท/กก. ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม – บาท/กก. เพิ่มขึ้น บาท/กก.)
– การผลิตสินค้าตามมาตรฐาน Organic จำนวน – ราย พื้นที่จำนวน – ไร่
(ราคาสินค้า Organic – บาท/กก. ราคาสินค้าทั่วไปของกลุ่ม – บาท/กก. เพิ่มขึ้น – บาท/กก.)
2.4 การบริหารจัดการกลุ่ม มีแผนและแนวทางในการบริหารจัดการกลุ่ม ดังนี้
1. มีแผนในการบริหารจัดการกลุ่ม
1.1 แผนการบริหารจัดการกลุ่ม
1.2 การบริหารจัดการเครื่องจักรกล ได้แก่ การวางแผนจัดลำดับการเกี่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้เครื่องสี และเครื่องคัดเมล็ดพันธุ์
1.3 การบริหารจัดการผลผลิตกลุ่ม
1.4 การจัดการด้านการตลาด
2. มีแผนในการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิตอย่างไร
3. มีแผนการตลาดและแผนการพัฒนาด้านการตลาดอย่างไร
2.5 การจัดการด้านการตลาด ดังนี้
1. สินค้าของกลุ่มประกอบด้วยอะไรบ้าง ปริมาณเท่าไร เช่น
1.1 สินค้า (ข้าว) ทั่วไป ผลผลิตรวม 2,100 ตัน ราคา 14,000 บาท/ตัน
1.2 สินค้า เมล็ดพันธุ์ข้าว ผลผลิตรวม 0 ตัน ราคา 0 บาท/ตัน
1.3 สินค้า GAP ผลผลิตรวม 0 ตัน ราคา 0 บาท/ตัน
1.4 สินค้า Organic ผลผลิตรวม 0 ตัน ราคา 0 บาท/ตัน
1.5 สินค้าแปรรูป ได้แก่ 0 ปริมาณ 0 ตัน
ราคา บาท/ตัน
2. ตลาดในการจำหน่ายสินค้าของกลุ่ม
2.1 ตลาดภายในประเทศ ที่ใดบ้าง คิดเป็นปริมาณเท่าไร (ตัน)
– โรงสีข้าว และพ่อค้าคนกลางทั่วไป จำนวน 2,100 ตัน
– การออกบู๊ตจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน 0 ตัน
– การจำหน่ายผ่านช่องทาง e-commerce เช่น Facebook/ Line/ Instagramจำนวน 0 ตัน
2.2 ตลาดต่างประเทศ ไม่มี
3. กิจกรรมเพื่อบรรลุเป้าหมาย
3.1 การลดต้นทุนการผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20) เช่น
1. การใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานคน
2. ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์/ไร่
3. ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
4. ลดการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช/ สัตรูพืช
3.2 การเพิ่มผลผลิต (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20) เช่น
1. ไถกลบตอซัง
2. หว่านพืชตระกูลถั่วแล้วไถกลบ
3. ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
4. ปรับเปลี่ยนวิธีการทำนาจากเดิมนาหว่าน เป็นนาหยอด นาดำ
3.3 การพัฒนาคุณภาพผลผลิต เช่น
1. อบรมเกษตรกรตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร
2. การวางแผนการผลิตของสมาชิกตามมาตรฐานเมล็ดพันธุ์ข้าว/ GAP/ Organic
3. การตรวจรับรองมาตรฐานเมล็ดพันธุ์ข้าว/ GAP และ Organic
3.4 การบริหารจัดการ เช่น
1. แผนการบริหารจัดการกลุ่ม
2. การบริหารจัดการเครื่องจักรกล
3. การบริหารจัดการผลผลิตกลุ่ม
4. การจัดการด้านการตลาด
3.5 การตลาด
1. ตลาดภายในประเทศ
– โรงสีข้าว และพ่อค้าคนกลางทั่วไป
– การออกบู๊ตจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า
2. การจำหน่ายภายในประเทศ/ต่างประเทศ
4. การเปลี่ยนแปลง เช่น
4.1 ต้นทุนการผลิตต่อไร่ลดลงเมื่อเทียบกับการทำนาหว่าน
– นาหว่านต้นทุน 2,925 บาท/ไร่
– นาหยอดต้นทุน 0 บาท/ไร่ ลดลง 0 บาท/ไร่ คิดเป็น 0 %
– นาดำต้นทุน 0 บาท/ไร่ ลดลง 0 บาท/ไร่ คิดเป็น 0 %
4.2 ผลผลิตต่อไร่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับการทำนาหว่าน
– นาหว่านผลผลิต 0 กก./ไร่
– นาหยอด 0 กก./ไร่ เพิ่มขึ้น 0 กก./ไร่ คิดเป็น 0 %
– นาดำ 0 กก./ไร่ เพิ่มขึ้น 0 กก./ไร่ คิดเป็น 0 %
4.3 ผลผลิตมีคูณภาพและมาตรฐาน เช่น
– มาตรฐาน GAP ไม่มี
– มาตรฐาน Organic 60 ราย
4.4 มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพิ่มมากขึ้น เช่น
– ตลาดภายในประเทศ ได้แก่ ผลิตจำหน่ายปลีก .
– ตลาดต่างประเทศ ได้แก่ ไม่มี
4.5 มีการบริหารจัดการด้านต่างๆ เช่น
– แผนการบริหารจัดการกลุ่ม
– การบริหารจัดการเครื่องจักรกล
– การบริหารจัดการผลผลิตกลุ่ม
– การจัดการด้านการตลาด
5. มูลค่าเพิ่มจากการพัฒนา เช่น
5.1 ราคาของสินค้าเพิ่มขึ้น ไม่เพิ่ม
5.2 รายได้ที่เพิ่มขึ้น/ไร่ ไม่เพิ่ม